ยินดีต้อนรับสู่เว็บไซด์สถานีวิทยุคลื่นพุทธบูชา


ยินดีต้อนรับสู่เว็บไซด์สถานีวิทยุคลื่นพุทธบูชา

FM 100.25 Mhz

มาทำความรู้จักกับเราสิค่ะ

คลื่นพุทธบูชา" FM100.25 Mhz คลื่นแห่งพระธรรมและเสียงธรรม 20 ชั่วโมง

เปิดสถานี เวลา 05.00 น.-24.00 น.ทุกวันเชิญมาฟังกันนะค่ะ

21 ตุลาคม 2553

รวมบทสวดมนต์–watphut.blogspot.com

20081218102154_5234                     

อนุโมทนารัมภคาถา
..
(หันทะ มะยัง สามัญญะอะนุโมทะนาคาถาโย ภะณามะ เส)
ยะถา วาริวะหา ปูรา ปะริปูเรนติ สาคะรัง,

ห้วงน้ำที่เต็ม ย่อมยังสมุทรสาครให้บริบูรณ์ได้ ฉันใด,
เอวะเมวะ อิโต ทินนัง เปตานัง อุปะกัปปะติ,
ทานที่ท่านอุทิศให้แล้วแต่โลกนี้,
ย่อมสำเร็จประโยชน์แก่ผู้ที่ละโลกนี้ไปแล้วได้ ฉันนั้น,
อิจฉิตัง ปัตถิตัง ตุมหัง,.........ขออิฏฐผล ที่ท่านปรารถนาแล้วตั้งใจแล้ว,
ขิปปะเมวะ สะมิชฌะตุ,.........จงสำเร็จโดยฉับพลัน,
สัพเพ ปูเรนตุ สังกัปปา,.........ขอความดำริทั้งปวง จงเต็มที่,
จันโท ปัณณะระโส ยะถา,......เหมือนพระจันทร์วันเพ็ญ,
มะณิ โชติระโส ยะถา,...........เหมือนแก้วมณีอันสว่างไสว ควรยินดี,
สัพพีติโย วิวัชชันตุ,..............ความจัญไรทั้งปวง จงบำราศไป,
สัพพะโรโค วินัสสะตุ,.............โรคทั้งปวงของท่าน จงหาย,
มา เต ภะวัต๎วันตะราโย,..........อันตราย อย่ามีแก่ท่าน,
สุขี ฑีฆายุโก ภะวะ,...............ท่านจงเป็นผู้มีความสุข มีอายุยืน,
อะภิวาทะนะสีลิสสะ นิจจัง, วุฑฒาปะจายิโน จัตตาโร ธัมมา วัฑฒันติ
อายุ วัณโณ สุขัง พะลัง,

ธรรม ๔ ประการคือ อายุ วรรณะ สุขะ พละ, ย่อมเจริญแก่บุคคลผู้มีปกติ
ไหว้กราบ, มีปกติอ่อนน้อม (ต่อผู้ใหญ่) เป็นนิจ,
ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง,...........ขอสรรพมงคลจงมีแก่ท่าน,
รักขันตุ สัพพะเทวะตา, ..........ขอเหล่าเทวดาทั้งปวง จงรักษาท่าน,
สัพพะพุทธานุภาเวนะ,............ด้วยอานุภาพแห่งพระพุทธเจ้าทั้งปวง,
สัพพะธัมมานุภาเวนะ,.............ด้วยอานุภาพแห่งพระธรรมทั้งปวง,
สัพพะสังฆานุภาเวนะ, ............ด้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์ทั้งปวง,
สะทา โสตถี ภะวันตุ เต,
ขอความสวัสดีทั้งหลาย จงมีแก่ท่านทุกเมื่อเทอญ.
....กาลทานสุตตคาถา
..
(หันทะ มะยัง กาละทานะสุตตะคาถาโย ภะณามะ เส)
กาเล ทะทันติ สะปัญญา
............วะทัญญู วีตะมัจฉะรา
ทายกเหล่าใดเป็นผู้มีปัญญา, รู้จักถ้อยคำพูดจาปราศจากความตระหนี่,
กาเลนะ ทินนัง อะริเยสุ...............
อุชุภูเตสุ ตาทิสุ,
วิปปะสันนะมะนา ตัสสะ
..............วิปุลา โหติ ทักขิณา,
มีใจเลื่อมใสแล้วในพระอริยเจ้า, ผู้มีปรกติอันซื่อตรง,
ให้ทานในกาลถูกต้องตามสมัย, ทักษิณาทานของทายกเหล่านั้น,
ย่อมมีผลอันไพบูลย์,
เย ตัตถะ อะนุโมทันติ,.................เวยยาวัจจัง กะโรนติ วา,
ชนเหล่าใดเป็นผู้ช่วยขวนขวาย, ร่วมทำทานนี้ด้วยความยินดี,
นะ เตนะ ทักขิณา โอนา,..............เตปิ ปุญญัสสะ ภาคิโน,
ทักษิณาทานของทายกเท่านั้นก็มิได้บกพร่องไป, เพราะเหตุนั้น,
ชนทั้งหลายเหล่าอื่น ก็ย่อมเป็นผู้มีส่วนแห่งบุญนั้นด้วย,
ตัส๎มา ทะเท อัปปะฏิวานะจิตใจ,.....ยัตถะ ทินนัง มะหัปผะลัง,
เพราะเหตุนั้นแล, ท่านทั้งหลายควรเป็นผู้มีใจอันไม่ท้อถอย,
เมื่อให้ทานในที่ใดๆ มีผลมาก, ก็ควรให้ทานในที่นั้นๆ เถิด,
ปุญญานิ ปะระโลกัส๎มิง,................ปะติฏฐา โหนติ ปาณินันติ,
เพราะเหตุว่าบุญนั้นย่อมเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลาย, ในโลกหน้าต่อๆ ไป.
วิหารทานคาถา
..
(หันทะ มะยัง วิหาระทานะคาถาโย ภะณามะ เส)
สีตัง อุณหัง ปะฏิหันติ,
............ตะโต วาฬะมิคานิ จะ,
เสนาสนะย่อมป้องกันหนาวร้อนและสัตว์ร้ายทั้งปวง,
สิริงสะเป จะ มะกะเส...............สิสิเร จาปิ วุฏฐิโย,
เหลือบ ยุง ริ้น ไร และสัตว์เลื้อยคลาน, และฝนอันตั้งขึ้นแล้วในฤดูกาล,
ตะโต วาตาตะโป โฆโร,..........สัญชาโต ปะฏิหัญญะติ,
ทั้งลม แดด อันแผดกล้า, เกิดขึ้นแล้วย่อมบรรเทาไป,
เลนัตถัญจะ สุขัตถัญจะ...........
ฌายิตุง จะ วิปัสสิตุง,
วิหาระทานัง สังฆัสสะ
.............อัคคัง พุทเธหิ วัณณิตัง,
การสร้างวิหารถวายแก่สงฆ์, เพื่อหลีกเร้นอยู่สำหรับภาวนา,
เพื่อให้เห็นแจ้ง, พระพุทธเจ้าสรรเสริญว่า เป็นทานอันเลิศ,
ตัส๎มา หิ ปัณฑิโต โปโส...........สัมปัสสัง อัตถะมัตตะโน,
เพราะเหตุนั้นแล, บัณฑิตชนทั้งหลาย เมื่อเล็งเห็นประโยชน์ตน,
วิหาเร การะเย รัมเม,...............วาสะเยตถะ พะหุสสุเต,
พึงสร้างวิหารอันรื่นรมย์, ให้ภิกษุทั้งหลายผู้เป็นพหูสูตอยู่เถิด,
เตสัง อันนัญจะ ปานัญจะ,........
วัตถะเสนาสะนานิ จะ,
ทะเทยยะ อุชุภูเตสุ
..................วิปปะสันเนนะ เจตะสา,
อนึ่ง พึงถวายข้าว น้ำ ผ้า และเสนาสนะแก่ท่านเหล่านั้น,
ด้วยน้ำใจอันเลื่อมใสในท่านผู้ซื่อตรงอยู่เถิด,
เต ตัสสะ ธัมมัง เทเสนติ,...........
สัพพะทุกขาปะนูทะนัง,
ยัง โส ธัมมะมิธัญญายะ
...........ปะรินิพพาต๎ยะนาสะโวติ,
เมื่อท่านรู้ธรรมอันใดในโลกนี้แล้ว, จะเป็นผู้ไม่มีกิเลสและปรินิพพาน,
ท่านย่อมแสดงธรรมนั้น, อันเป็นเครื่องบรรเทาทุกข์ทั้งปวงแก่เราได้ ดังนี้.
ปัตติทานคาถา
................................(แผ่บุญ)
......
(หันทะ มะยัง ปัตติทานะคาถาโย ภะณามะ เส)
ยา เทวะตา สันติ วิหาระวาสินี, ถูเป ฆะเร โพธิฆะเร ตะหิง ตะหิง,

เทวดาทั้งหลายเหล่าใด มีปกติอยู่ในวิหาร,
สิงสถิตที่เรือนพระสถูปที่เรือนโพธิ์ในที่นั้นๆ,
ตา ธัมมะทาเนนะ ภะวันตุ ปูชิตา,
เทวดาทั้งหลายเหล่านั้น เป็นผู้ที่เราทั้งหลายบูชาแล้วด้วยธรรมทาน,
โสตถิง กะโรนเตธะ วิหาระมัณฑะเล,
ขอจงกระทำซึ่งความเจริญ ให้เกิดในมณฑลวิหารนี้,
เถรา จะ มัชฌา นะวะกา จะ ภิกขะโว,
พระภิกษุทั้งหลายที่เป็นพระเถระก็ดี, ที่เป็นปานกลางก็ดี ที่ยังใหม่ก็ดี,
สารามิกา ทานะปะตี อุปาสะกา, คามา จะ เทสา นิคะมา จะ อิสสะรา,
อุบาสกอุบาสิกาทั้งหลายผู้ให้ทาน, ตลอดทั้งผู้ประพฤติธรรม,
ที่อาศัยอยู่ในอารามทั้งหมดนี้, ตลอดถึงมวลมนุษย์และสรรพสัตว์ทั้งหลาย,
ที่มีชีวิตอยู่ทุกแว่นแคว้น ทุกบ้านทุกตำบล,
สัปปาณะภูตา สุขิตา ภะวันตุ เต,
ขอให้ชนทั้งหลายเหล่านั้น จงเป็นผู้มีความสุขเถิด,
ชะลาพุชา เยปิ จะ อัณฑะสัมภะวา, สังเสทะชาตา อะถะโวปะปาติกา,
สัตว์ทั้งหลายที่เกิดจากครรภ์ก็ดี,
ที่เกิดจากฟองไข่ก็ดี ที่เกิดจากเถ้าไคลก็ดี ที่เกิดขึ้นโตทีเดียวก็ดี,
นิยยานิกัง ธัมมะวะรัง ปะฏิจจะ เต, สัพเพปิ ทุกขัสสะ กะโรนตุ สังขะยัง,
สัตว์ทั้งหลายแม้ทั้งปวงเหล่านั้น จงได้อาศัยธรรมอันประเสริฐ,
เป็นธรรมนำตนออกจากทุกข์, จงกระทำความสิ้นทุกข์ให้เกิดแก่ตนเถิด,
ฐาตุ จิรัง สะตัง ธัมโม, ธัมมัทธะรา จะ ปุคคะลา,
ขอพระธรรมของสัตบุรุษ และบุคคลผู้ทรงไว้ซึ่งพระธรรม,
จงดำรงอยู่สิ้นกาลนาน,
สังโฆ โหตุ สะมัคโค วะ, อัตถายะ จะ หิตายะ จะ,
ขอพระสงฆ์ จงมีความสามัคคีกัน, เพื่อประโยชน์และความสุขแก่สรรพสัตว์ทั้งหลาย,
อัมเห รักขะตุ สัทธัมโม สัพเพปิ ธัมมะจาริโน,
ขอพระสัทธรรม จงรักษาเราทั้งหลาย ผู้มีปกติประพฤติธรรมอยู่เป็นนิตย์เถิด,
วุฑฒิง สัมปาปุเณยยามะ ธัมเม อะริยัปปะเวทิเต,
ขอความเจริญงอกงามในธรรมที่พระอริยเจ้าได้ประกาศไว้ดีแล้ว,
จงมีแก่เราทั้งหลายทุกเมื่อเถิด,
ปะสันนา โหนตุ สัพเพปิ ปาณิโณ พุทธะสาสะเน,
แม้สรรพสัตว์ทั้งหลาย จงเป็นผู้เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา,
สัมมา ธารัง ปะเวจฉันโต กาเล เทโว ปะวัสสะตุ,
ขอฝนฟ้าจงตกต้องตามฤดูกาล,
วุฑฒิภาวายะ สัตตานัง สะมิทธัง เนตุ เมทะนิง,
ขอฝนจงนำความสำเร็จมาสู่พื้นปฐพี, เพื่อบังเกิดความเจริญแก่สัตว์ทั้งหลาย,
มาตา ปิตา จะ อัิต๎ระชัง นิจจัง รักขันติ ปุตตะกัง,
มารดาและบิดาย่อมถนอมบุตรน้อย ที่เกิดจากตนเป็นนิตย์ฉันใด,
เอวัง ธัมเมนะ ราชาโน ปะชัง รักขันตุ สัพพะทา,
พระราชาทั้งหลาย จงทรงปกครองประชาชนโดยชอบธรรม,
ในกาลทั้งปวงฉันนั้นเทอญ.
อิทัง โน ปุญญะภาคัง ราชาทีนัญเจวะ อิสสะรานัง มาตาปิตุ อาทีนัญจะ
ปิยะชะนานัง สัพพะสัตตานัญจะ นิยยาเทมะ,

ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอน้อมถวายส่วนบุญกุศลนี้ ให้แด่อิสรชนคนผู้เป็นใหญ่ทั้งหลาย
มีองค์พระมหากษัตริย์ ผู้เป็นประมุขของชาติ องค์สมเด็จพระสังฆราช
ผู้เป็นพระประมุขของคณะสงฆ์ เป็นต้น และขอแผ่ส่วนบุญกุศลนี้ ให้แด่ปิยชน
คนผู้เป็นที่รักทั้งหลาย มีบิดามารดา ปู่ย่าตายาย ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ ทั้งคณะรัฐบาล
ผู้บริหารประเทศชาติ ทั้งหมอและพยาบาล ข้าราชการ ทหาร ตำรวจ พ่อค้า
ประชาชน และหน่วยงานผู้ทำประโยชน์ส่วนรวมทั้งหลาย ตลอดถึงสรรพสัตว์ทั้งหลาย
ทุกชาติชั้นวรรณะ ทุกศาสนา ทุกภาษา ทุกพงษ์เผ่า ที่อยู่ทั่วทุกมุมแห่งโลก
ขอให้ท่านทั้งหลายจงมีส่วนได้แห่งบุญกุศลนี้ มีความสุขโดยทั่วกันเทอญ.
..นิธิกัณฑคาถา
นิธิง นิเธติ ปุริโส..................
คัมภีเร อุทะกันติเก
อัตเถ กิจเจ สะมุปปันเน
.........อัตถายะ เม ภะวิสสะติ
คนเราฝังขุมทรัพย์ไว้ในที่ลึกจดถึงน้ำ, ก็ด้วยคิดว่าเมื่อเกิดกิจที่จำเป็นขึ้น
ขุมทรัพย์นี้จะเป็นประโยชน์แก่เรา
ราชะโต วา ทุรุตตัสสะ...........
โจระโต ปีฬิตัสสะ วา
อิณัสสะ วา ปะโมกขายะ
........
ทุพภิกเข อาปะทาสุ วา
เอตะทัตถายะ โลกัส๎มิง
..........นิธิ นามะ นิธิยยะติ
ขุมทรัพย์ที่คนฝังไว้ในโลก ก็เพื่อจุดประสงค์นี้ คือ...
เพื่อให้พ้นจากราชภัยที่คอยคุกคาม เพื่อให้พ้นจากโจรภัยที่คอยเบียดเบียน
เพื่อเก็บไว้ใช้หนี้ก็มี เพื่อเก็บไว้ใช้ในยามเกิดทุพภิกขภัย
หรือเพื่อใช้ในเวลามีภัยอันตรายต่างๆ
ตาวัสสุนิหิโต สันโต...............
คัมภีเร อุทะกันติเก
นะ สัพโพ สัพพะทาเยวะ
........ตัสสะ ตัง อุปะกัปปะติ
ขุมทรัพย์ที่เขาฝังไว้อย่างดีในที่ลึกจดน้ำถึงเพียงนั้น
จะสำเร็จประโยชน์แก่เขาไปทั้งหมด ตลอดเวลาก็หาไม่
นิธิ วา ฐานา จะวะติ..............เพราะบางทีขุมทรัพย์เคลื่อนที่ไปก็มี
สัญญา วาสสะ วิมุยหะติ.........บางทีเขาลืมที่ฝังไว้ก็มี
นาคา วา อะปะนาเมนติ..........บางทีพวกนาคเคลื่อนย้ายก็มี
ยักขา วาปิ หะรันติ นัง............บางทีพวกยักษ์นำขุมทรัพย์นั้นไปก็มี
อัปปิยา วาปิ ทายาทา............อุทธะรันติ อะปัสสะโต
หรือบางทีเมื่อเขาไม่เห็น ทายาทผู้ไม่เป็นที่รักขโมยขุดเอาไปก็มี
ยทา ปุญญักขะโย โหติ...........สัพพะเมตัง วินัสสะติ
เมื่อเขาสิ้นบุญ ขุมทรัพย์ที่ฝังไว้ทั้งหมดนั้นก็พินาศหายไป
ยัสสะ ทาเนนะ สีเลนะ.............
สัญญะเมนะ ทะเมนะ จะ
นิธิ สุนิหิโต โหติ
.....................อิตถิยา ปุริสัสสะ วา
ขุมทรัพย์ที่ผู้ใดจะเป็นสตรีก็ตาม เป็นบุรุษก็ตาม ฝังไว้ดีแล้ว
ด้วยทาน ศีล สัญญมะ และทมะ
เจติยัมหิ จะ สังเฆ วา.............ในพระเจดีย์ หรือในพระสงฆ์
ปุคคะเล อะติถีสุ วา...............ในบุคคล หรือในแขกที่มาหา
มาตะริ ปิตะริ วาปิ..................อโถ เชฏฐัมหิ ภาตะริ
ในมารดา บิดา ก็หรือว่าพี่ชาย
เอโส นิธิ สุนิหิโต....................อะเชยโย อะนุคามิโก
ขุมทรัพย์นี้ชื่อว่าฝังไว้ดีแล้ว คนอื่นขนเอาไปไม่ได้ จะติดตามคนฝังตลอดไป
ปะหายะ คะมะนีเยสุ...............เอตัง อาทายะ คัจฉะติ
บรรดาทรัพย์สมบัติที่เขาจำต้องละไป เขาพาไปได้ เฉพาะขุมทรัพย์นี้เท่านั้น
อะสาธารณะมัญเญสัง............อะโจระหะระโณ นิธิ
ขุมทรัพย์นี้ไม่ทั่วไปแก่คนเหล่าอื่น ทั้งโจรก็ลักเอาไปไม่ได้
กยิราถะ ธีโร ปุญญานิ...........โย นิธิ อะนุคามิโก
ผู้มีปัญญาควรทำแต่บุญที่จะเป็นขุมทรัพย์ติดตามตนตลอดไป
เอสะ เทวะมะนุสสานัง............สัพพะกามะทะโท นิธิ
ขุมทรัพย์นี้ให้ผลอันน่าปรารถนาทุกประการ แก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
ยัง ยัง เทวาภิปัตเถนติ...........สัพพะเมเตนะ ลัพภะติ
เทวดาและมนุษย์ปรารถนาผลใดๆ ผลนั้นๆ ทุกอย่าง จะได้ด้วยขุมทรัพย์นี้
สุวัณณะตา สุสะระตา.............ความมีผิวพรรณงดงาม ความมีเสียงไพเราะ
สุสัณฐานัง สุรูปะตา...............ความมีทรวดทรงสมส่วน ความมีรูปสวย
อาธิปัจจัง ปะริวาโร................ความเป็นใหญ่ ความมีบริวาร
สัพพะเมเตนะ ลัพภะติ............ทั้งหมดจะได้ด้วยขุมทรัพย์นี้
ปะเทสะรัชชัง อิสสะริยัง..........ความเป็นพระราชาในประเทศ ความเป็นอิสระ
จักกะวัตติสุขัง ปิยัง................ความสุขของความเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ์อันน่าพอใจ
เทวะรัชชัมปิ ทิพเพสุ..............แม้ความเป็นเทวราชของเทวดาในหมู่เทพก็ตาม
สัพพะเมเตนะ ลัพภะติ.............ทั้งหมดก็จะได้ด้วยขุมทรัพย์นี้
มะนุสิกา จะ สัมปัตติ...............สมบัติของมนุษย์ก็ดี
เทวะโลเก จะ ยา ระติ..............ความยินดีในเทวโลกก็ดี
ยา จะ นิพพานะสัมปัตติ..........สมบัติคือนิพพานก็ดี
สัพพะเมเตนะ ลัพภะติ.............ทั้งหมดก็จะได้ด้วยขุมทรัพย์นี้
มิตตะสัมปะทะมาคัมมะ...........บุคคลอาศัยมิตตะสัมปทา
โยนิโส เจ ปะยุญชะโต............ถ้าประกอบความเพียรโดยแยบคาย
วิชชาวิมุตติวะสีภาโว..............ก็จะเป็นผู้ชำนาญในวิชชาและวิมุตติ
สัพพะเมเตนะ ลัพภะติ.............ทั้งหมดก็จะได้ด้วยขุมทรัพย์นี้
ปะฏิสัมภิทา วิโมกขา จะ..........ความเพียบพร้อม และความหลุดพ้น
ยา จะ สาวะกะปาระมี..............อีกทั้งสาวกบารมี
ปัจเจกะโพธิ พุทธะภูมิ.............การตรัสรู้เป็นพระปัจเจกพุทธเจ้า และพุทธภูมิ
สัพพะเมเตนะ ลัพภะติ..............ทั้งหมดก็จะได้ด้วยขุมทรัพย์นี้
เอวัง มะหัตถิกา เอสา...............ยะทิทัง ปุญญะสัมปะทา
ผู้ถึงพร้อมด้วยบุญ ย่อมได้ประโยชน์มากมายถึงเพียงนี้
ตัส๎มา ธีรา ปะสังสันติ...............ปัณฑิตา กะตะปุญญะตันติ.
เพราะฉะนั้น บัณฑิตผู้เป็นปราชญ์
จึงสรรเสริญภาวะแห่งบุญที่ทำไว้แล้วเท่านั้นแล... ดังนี้.
.พระอาการวัตตาสูตร
..........บทสรรเสริญคุณพระพุทธเจ้าแบบพิสดาร
(หันทะ มะยัง อาการะวัตตาสุตตะคาถาโย ภะณามะ เส)
เอวัมเม สุตัง เอกัง สะมะยัง ภะคะวา ราชะคะเห วิหะระติ
คิชฌะกูเฏ ปัพพะเต เตนะ โข ปะนะ สะมะเยนะ สัพพะสัตตานัง
พุทธะคุโณ ธัมมะคุโณ สังฆะคุโณ อายัส๎มา อานันโท อะนุรุทโธ
สารีปุตโต โมคคัลลาโน มะหิทธิโก มะหานุภาเวนะ สัตตานัง เอตะทะโวจะ
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง
อิติปิ โส ภะคะวา สัมมาสัมพุทโธ
อิติปิ โส ภะคะวา วิชชาจะระณะสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สุคะโต
อิติปิ โส ภะคะวา โลกะวิทู
อิติปิ โส ภะคะวา อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ
อิติปิ โส ภะคะวา สัตถา เทวะมะนุสสานัง
อิติปิ โส ภะคะวา พุทโธ
อิติปิ โส ภะคะวา ภะคะวาติ

(พุทธะคุณะวัคโค ปะฐะโม จบวรรคที่ ๑)
อิติปิ โส ภะคะวา อะภินิหาระ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อุฬารัชฌาสะยะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปะณิธานะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา มะหากะรุณา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปะโยคะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ยุติ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ชุติ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา คัพภะโอกกันติ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา คัพภะฐิติ ปาระมิสัมปันโน

(อะภินิหาระวัคโค ทุติโย จบวรรคที่ ๒)
อิติปิ โส ภะคะวา คัพภะวุฏฐานะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา คัพภะมะละวิระหิตะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อุตตะมะชาติ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา คะติ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อะภิรูปะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สุวัณณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา มะหาสิริ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อาโรหะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปะริณามะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สุนิฏฐะ ปาระมิสัมปันโน

(คัพภะวุฏฐานะวัคโค ตะติโย จบวรรคที่ ๓)
อิติปิ โส ภะคะวา อะภิสัมโพธิ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สีละขันธะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สะมาธิขันธะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปัญญาขันธะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ท๎วัตติงสะมะหาปุริสะลักขะณะ ปาระมิสัมปันโน

(อะภิสัมโพธิวัคโค จะตุตโถ จบวรรคที่ ๔)
อิติปิ โส ภะคะวา มะหาปัญญา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปุถุปัญญา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา หาสะปัญญา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ชะวะนะปัญญา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ติกขะปัญญา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา นิพเพธิกะปัญญา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปัญจะจักขุ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อัฏฐาระสะพุทธะกะระณะ ปาระมิสัมปันโน

(มะหาปัญญาวัคโค ปัญจะโม จบวรรคที่ ๕)
อิติปิ โส ภะคะวา ทานะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สีละ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา เนกขัมมะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปัญญา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา วิริยะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ขันติ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สัจจะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อะธิษฐานะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา เมตตา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อุเปกขา ปาระมิสัมปันโน

(ปาระมิวัคโค ฉัฏโฐ จบวรรคที่ ๖)
อิติปิ โส ภะคะวา ทะสะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ทะสะอุปะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ทะสะปะระมัตถะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สะมะติงสะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ตังตังฌานะฌานังคะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อะภิญญา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สะติ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สะมาธิ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา วิมุตติ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา วิมุตติญาณะทัสสะนะ ปาระมิสัมปันโน

(ทะสะปาระมิควัคโค สัตตะโม จบวรรคที่ ๗)
อิติปิ โส ภะคะวา วิชชาจะระณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา วิปัสสะนาญาณะวิชชา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา มะโนมะยิทธิวิชชา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อิทธิวิธิวิชชา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ทิพพะโสตะวิชชา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปะระจิตตะปะริยะญาณะวิชชา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปุพเพนิวาสานุสสะติวิชชา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ทิพพะจักขุวิชชา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อาสะวักขะยะญาณะวิชชา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา จะระณะวิชชา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา จะระณะธัมมะวิชชา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อะนุปุพพะวิหาระ ปาระมิสัมปันโน

(วิชชาวัคโค อัฏฐะโม จบวรรคที่ ๘)
อิติปิ โส ภะคะวา ปะริญญา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปะหานะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สัจฉิกิริยา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ภาวะนา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปะริญญาปะหานะสัจฉิกิริยาภาวะนา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา จะตุธัมมะสัจจะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปะฏิสัมภิทาญาณะ ปาระมิสัมปันโน

(ปะริญญาวัคโค นะวะโม จบวรรคที่ ๙)
อิติปิ โส ภะคะวา โพธิปักขิยะธัมมะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สะติปัฏฐานะปัญญา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สัมมัปปะธานะปัญญา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อิทธิปาทะปัญญา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อินท๎ริยะปัญญา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา พะละปัญญา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา โพชฌังคะปัญญา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อัฏฐังคิกะมัคคะธัมมะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา มะหาปุริสะสัจฉิกิริยา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อะนาวะระณะวิโมกขะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัตตะผะละวิมุตติ ปาระมิสัมปันโน

(โพธิปักขิยะวัคโค ทะสะโม จบวรรคที่ ๑๐)
อิติปิ โส ภะคะวา ทะสะพะละญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ฐานาฐานะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา วิปากะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สัพพัตถะคามินีปะฏิปะทาญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา นานาธาตุญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สัตตานังนานาธิมุตติกะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อินท๎ริยะปะโรปะริยัตติ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา นิโรธะวุฏฐานะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ฌานาทิสังกิเลสาทิญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปุพเพนิวาสานุสสะติญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา จุตูปะปาตะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อาสะวักขะยะญาณะ ปาระมิสัมปันโน

(ทะสะพะละญาณะวัคโค เอกาทะสะโม จบวรรคที่ ๑๑)
อิติปิ โส ภะคะวา โกฏิสะหัสสานังปะกะติสะหัสสานัง หัตถีนัง พะละธะระ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปุริสะโกฏิทะสะสะหัสสานัง พะละธะระ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปัญจะจักขุญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ยะมะกะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สีละคุณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อัฏฐะสะมาปัตติคุณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปัญญาคุณะ ปาระมิสัมปันโน

(กายะพะละวัคโค ทะวาทะสะโม จบวรรคที่ ๑๒)
อิติปิ โส ภะคะวา ถามะพะละ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ถามะพะละญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา พะละ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา พะละญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปุริสะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปุริสะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อะตุละยะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อุสสาหะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา คะเวสิญาณะ ปาระมิสัมปันโน

(ถามะพะละวัคโค เตระสะโม จบวรรคที่ ๑๓)
อิติปิ โส ภะคะวา จะริยา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา จะริยาญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา โลกัตถะจะริยา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา โลกัตถะจะริยาญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ญาตัตถะจะริยา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ญาตัตถะจะริยาญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา พุทธะจะริยา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา พุทธะจะริยาญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ติวิธะจะริยา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปาระมิอุปะปาระมิปะระมัตถะ ปาระมิสัมปันโน

(จะริยาวัคโค จะตุททะสะโม จบวรรคที่ ๑๔)
อิติปิ โส ภะคะวา ปัญจุปาทานักขันเธสุ อะนิจจะลักขะณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปัญจุปาทานักขันเธสุ ทุกขะลักขะณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ปัญจุปาทานักขันเธสุ อะนัตตะลักขะณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อายะตะเนสุ ติลักขะณะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อัฏฐาระสะธาตูสุ ติลักขะณะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา วิปะริณามะลักขะณะ ปาระมิสัมปันโน

(ลักขะณะวัคโค ปัณณะระสะโม จบวรรคที่ ๑๕)
อิติปิ โส ภะคะวา คะตัฏฐานะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา คะตัฏฐานะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา วะสิตะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา วะสิตะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สิกขา ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สิกขาญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สังวะระ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สังวะระญาณะ ปาระมิสัมปันโน

(คะตัฏฐานะวัคโค โสฬะสะโม จบวรรคที่ ๑๖)
อิติปิ โส ภะคะวา พุทธะปะเวณิ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา พุทธะปะเวณิญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ยะมะกะปาฏิหาริยะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา ยะมะกะปาฏิหาริยะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา จะตุพ๎รัห๎มะวิหาระ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา จะตุพ๎รัห๎มะวิหาระญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อะนาวะระณะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา อะปะริยันตะญานะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา สัพพัญญุตะญาณะ ปาระมิสัมปันโน
อิติปิ โส ภะคะวา จะตุวีสะติโกฏิสะตะวะชิระญานะ ปาระมิสัมปันโน

(ปะเวณิวัคโค สัตตะระสะโม จบ ๑๗ วรรค บริบูรณ์)
.ถวายพรพระ (อิติปิโส)
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
.........................(กล่าว ๓ จบ)
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ,
วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู, อะนุตตะโร
ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวา ติ ฯ
ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, สันทิฏฐิโก อะกาลิโก
เอหิปัสสิโก
, โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูฮี ติ ฯ
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต
สาวะกะสังโฆ, ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, สามีจิปะฏิปันโน
ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา,
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย
อัญชะลีกะระณีโย, อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสา ติ ฯ
อุปัชฌาเย ปะมาเทนะ, ท๎วารัตตะเยนะ กะตัง,
สัพพัง อะปะราธัง ขะมะตุ โน ภันเต ฯ

.

รวมบทสวดมนต์ – watphut.blogspot.com

0 comments :

แสดงความคิดเห็น

หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น

วัดพุทธบูชา

Picture 012

Picture 008 Picture 006

Picture 010 Picture 013