ยินดีต้อนรับสู่เว็บไซด์สถานีวิทยุคลื่นพุทธบูชา


ยินดีต้อนรับสู่เว็บไซด์สถานีวิทยุคลื่นพุทธบูชา

FM 100.25 Mhz

มาทำความรู้จักกับเราสิค่ะ

คลื่นพุทธบูชา" FM100.25 Mhz คลื่นแห่งพระธรรมและเสียงธรรม 20 ชั่วโมง

เปิดสถานี เวลา 05.00 น.-24.00 น.ทุกวันเชิญมาฟังกันนะค่ะ

10 ธันวาคม 2553

บทสวดและคำแปล วิปัสสะนาภูมิปาฐะ

204 

วิปัสสะนาภูมิปาฐะ

        ปัญจักขันธา  ฯ  รูปักขันโธ  เวทะนากขันโธ  สัญญากขันโธ
สังขารักขันโธ  วิญญาณักขันโธ ฯ
        ทวาทะสายะตะนานิ ฯ จักขวายะตะนัง  รูปายะตะนัง โสตา-
ยะตะนัง  สัททายะตะนัง  ฆานายะตะนัง   ชิวหายะตะนัง
ระสายะตะนัง  กายายะตะนัง  โผฏฐัพพายะตะนัง  มะนายะตะนัง
ธัมมายะตะนัง ฯ
        อัฏฐาระสะ  ธาตุโย ฯ  จักขุธาตุ  รูปะธาตุ  จักขุวิญญาณะธาตุ
โสตะธาตุ  สัททะธาตุ  โสตะวิญญาณะธาตุ  ฆานะธาตุ คันธะธาตุ  ฆานะ-
วิญญาณะธาตุ ชิวหาธาตุ ระสะธาตุ  ชิวหาวิญญาณะธาตุ  กายะธาตุ
โผฏฐัพพะธาตุ  กายะวิญญาณะธาตุ  มะโนธาตุ ธัมมะธาตุ  มะโน-
วิญญาณะธาตุ ฯ 
        พาวีสะตินทริยานิ ฯ จักขุนทริยัง  โสตินทริยัง  ฆานินทริยัง
ชิวหินทริยัง  กายินทริยัง  มะนินทริยัง  อิตถินทริยัง ปุริสินทริยัง
ชีวิตินทริยัง  สุขินทริยัง  ทุกขินทริยัง  โสมะนัสสินทริยัง  โทมะนัส-
สินทริยัง  อุเปกขินทริยัง  สัทธินทริยัง   วิริยินทริยัง  สะตินทริยัง
สะมาธินทริยัง  ปัญญินทริยัง  อะนัญญะตัญญัสสามีตินทริยัง  อัญญินท-
ริยัง  อัญญาตาวินทริยัง ฯ
        จัตตาริ  อะริยะสัจจานิ ฯ  ทุกขัง  อะริยะสัจจัง  ทุกขะสะมุทะโย
อะริยะสัจจัง  ทุกขะนิโรโธ  อะริยะสัจจัง  ทุกขะนิโรธะคามินี
ปะฏิปะทา  อะริยะสัจจัง ฯ

อะวิชชาปัจจะยา  สังขารา  สังขาระปัจจะยา  วิญญาณัง  วิญ-
ญาณะปัจจะยา  นามะรูปัง  นามะรูปะปัจจะยา  สะฬายะตะนัง  สะฬา-
ยะตะนะปัจจะยา  ผัสโส  ผัสสะปัจจะยา  เวทะนา  เวทะนาปัจจะยา
ตัณหา  ตัณหาปัจจะยา  อุปาทานัง อุปาทานะปัจจะยา ภะโว  ภะวะ-
ปัจจะยา  ชาติ ชาติปัจจะยา ชะรามะระณัง  โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะ-
นัสสุปายาสา  สัมภะวันติ ฯ  เอวะเมตัสสะ  เกวะลัสสะ  ทุกขักขันธัสสะ
สะมุทะโย  โหติ  ฯ
        อะวิชชายะเตววะ  อะเสสะวิราคะนิโรธา  สังขาระนิโรโธ  สังขา-
ระนิโรธา    วิญญาณะนิโรโธ  วิญญาณะนิโรธา  นามะรูปะนิโรโธ  นามะรู-
ปะนิโรธา  สะฬายะตะนะนิโรโธ  สะฬายะตะนะนิโรธา  ผัสสะนิโรโธ
ผัสสะนิโรธา  เวทะนานิโรโธ  เวทะนานิโรธา ตัณหานิโรโธ  ตัณหานิโรธา
อุปาทานะนิโรโธ   อุปาทานะนิโรธา  ภะวะนิโรโธ  ภะวะนิโรธา  ชาตินิโรโธ
ชาตินิโรธา  ชะรามะระณัง  โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสา
นิรุชฌันติ  ฯ  เอวะเมตัสสะ  เกวะลัสสะ  ทุกขักขันธัสสะ  นิโรโธ  โหติ ฯ

คำแปล วิปัสสะนาภูมิปาฐะ

        ขันธ์ ๕ คือรูปขันธ์  เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์  สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์  อายตนะ ๑๒  คือ อายตนะ คือ ตา  รูป  หู เสียง จมูก กลิ่น ลิ้นกับรส  กายสิ่งที่ถูกต้องได้ ใจกับอารมณ์ของใจ

        ธาตุ ๑๘ คือ ธาตุคือ ตา รูป  วิญณาณทางตา  หู เสียง  วิณณาณทางหู  จมูก กลิ่น  วิญญาทางจมูก  สิ้น รส  วิณณาณทางสิ้น  กาย สิ่งที่ถูกต้องได้  วิณณาณทางกาย  ใจ อารมณ์ของใจ วิณณาณทางใจ

       อินทรีย์ ๒๒  คือ อินทรีย์ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ความเป็นหญิง ความเป็นชาย  ชีวิต สุข ทุกข์ โสมนัส  โทมนัส อุเบกขา  สัทธา  วิริยะ สติ  สมาธิ ปัญญา  อินทรีย์คืออัศยาศัยที่มุ่งบรรลุมรรคผล  อินทรีย์  คือการตรัสรู้  สัจจธรรมด้วยมรรค  อินทรีย์ของพระอรหันต์ผู้ตรัสรู้สัจจธรรมแล้ว

        อริยสัจ์ ๔ คือ ทุกข์  ทุกขสมุทัย  ทุกขนิโรธ  ทุกขนิโรธคามีนีปฏิปทา

       ปฏิจจสมุปบาท  สายเกิด  คือ เพราะอวิชาเป็นปัจจัยจึงมีสังขาร  เพราะสังขารเป็นปัจจัยจึงมีวิญญาณ  เพราะวิญญาณเป็นปัจจัยจึงมีนามรูป  เพราะนามรูปเป็นปัจจัยจึงมีอายตนะ๖ เพราะอายตนะ ๖ เป็นปัจจัยจึงมีผัสสะ  เพราะผัสสะเป็นปัจจัยจึงมีเวทนา  เพระเวทนาเป็นปัจจัยจึงมีตัณหา  เพราะตัณหาเป็นปัจจัยจึงอุปาทาน  เพราะอุปาทานเป็นปัจจัยจึงมีภพ  เพราะภพเป็นปัจจัยจึงมีชาติ  เพราะชาติเป็นปัจจัยจึงมีชรา  มรณะ  โสกะ ปริเทวะ  ทุกข์ โทมนัส  อุปายาส  ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งปวงนั้นมีอย่างนี้

       ปฏิจจมุปบาท สายดับ  คือ เพราะอวิชชาดับโดยคลายความกำหนัดยินดีโดยไม่เหลือ  สังขารจึงดับ  เพราะสังขารดับ วิญญาณจึงดับ  เพราะวิญญาณดับนามรูปจึงดับ  เพราะนามรูปดับอายตนะ ๖ จึงดับ  เพราะอายตนะ๖ ดับผัสสะจึงดับ  เพราะผัสสะดับเวทนาจึงดับ  เพราะเวทนาดับตัณหาจึงดับ  เพราะตัณหาดับอุปาทานจึงดับ  เพราะอุปาทานดับภพจึงดับ  เพราะภพดับชาติจึงดับ  เพราะชาติดับ  ชรา มรณะ โศกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส  อุปายาสจึงดับ  ความดับกองทุกข์ทั้งปวงนั้นมีอย่างนี้

วัดพุทธบูชา บางมด ทุ่งครุ กรุงเทพมหานคร ~ สวดมนต์วัดพุทธบูชา

0 comments :

แสดงความคิดเห็น

หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น

วัดพุทธบูชา

Picture 012

Picture 008 Picture 006

Picture 010 Picture 013