ยินดีต้อนรับสู่เว็บไซด์สถานีวิทยุคลื่นพุทธบูชา


ยินดีต้อนรับสู่เว็บไซด์สถานีวิทยุคลื่นพุทธบูชา

FM 100.25 Mhz

มาทำความรู้จักกับเราสิค่ะ

คลื่นพุทธบูชา" FM100.25 Mhz คลื่นแห่งพระธรรมและเสียงธรรม 20 ชั่วโมง

เปิดสถานี เวลา 05.00 น.-24.00 น.ทุกวันเชิญมาฟังกันนะค่ะ

18 ตุลาคม 2553

บทสวดมนต์ทำวัตรเช้าประจำวัดพุทธบูชา

ประธานนำกล่าวสวดมนต์

               อะระหัง  สัมมาสัมพุทโธ   ภะคะวา           พุทธัง  ภะคะวันตัง  อะภิวาเทมิ (กราบ)

                สวากขาโต  ภะคะวะตา  ธัมโม               ธัมมัง  นะมัสสามิ  (กราบ)

                สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต  สาวะกะสังโฆ     สังฆัง นะมามิ (กราบ)

ประธานนำกล่าว

             (นำ) หันทะ  มะยัง  พุทธัสสะ  ภะคะวะโต  ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะ  เส ฯ

               (รับ)         นะโม  ตัสสะ  ภะคะวะโต  อะระหะโต  สัมมาสัมพุทธัสสะ

                               นะโม  ตัสสะ  ภะคะวะโต อะระหะโต  สัมมาสัมพุทธัสสะ

                               นะโม  ตัสสะ  ภะคะวะโต  อะระหะโต  สัมมาสัมพุทธัสสะ

(นำ)  หันทะ มะยัง  พุทธาภิถุติง  กะโรมะ  เส ฯ

             (รับ)  โย โส  ตะถาคะโต  อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, วิชชาจะระณะ-

             สัมปันโน สุคะโต  โลกะวิทู  อะนุตตะโร  ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา-

             เทวะมะนุสสานัง  พุทโธ  ภะคะวา,  โย อิมัง  โลกัง  สะเทวะกัง

             สะมาระกัง สะพรัหมะกัง,  สัสสะมะณะพราหมะณิง  ปะชัง สะเทวะมะ-

             นุสสัง  สะยัง  อะภิญญา  สัจฉิกัตวา ปะเวเทสิ,  โย ธัมมัง  เทเสสิ

             อาทิกัลยาณัง  มัชเฌกัลยาณัง  ปะริโยสานะกัลยาณัง,  สาตถัง

             สะพยัญชะนัง  เกวะละปะริปุณณัง  ปะริสุทธัง  พรัหมะจะริยัง

             ปะกาเสสิ, ตะมะหัง ภะคะวันตัง  อะภิปูชะยามิ ตะมะหัง ภะคะวันตังสิระสา นะมามิ ฯ

                                                        (กราบ)

ประธานนำกล่าว

(นำ) หันทะ  มะยัง  ธัมมาภิถุติง  กะโรมะ  เส ฯ

            (รับ) โย โส  สวากขาโต  ภะคะวะตา ธัมโม,  สันทิฏฐิโก  อะกาลิโก

             เอหิปัสสิโก,  โอปะนะยิโก  ปัจจัตตัง  เวทิตัพโพ  วิญญูหิ, ตะมะหัง

             ธัมมัง  อะภิปูชะยามิ  ตะมะหัง  ธัมมัง  สิระสา  นะมานิ ฯ

                                                     (กราบ)

(นำ) หันทะ  มะยัง  สังฆาภิถุติง  กะโรมะ  เส ฯ

(รับ) โย โส  สุปะฏิปันโน  ภะคะวะโต  สาวะกะสังโฆ,  อุชุปะฏิปันโนภะคะวะโต  สาวะกะสังโฆ,  ญายะปะฏิปันโน   ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,  สามีจิปะฏิปันโน  ภะคะวะโต  สาวะกะสังโฆ, ยะทิทัง จัตตาริ  ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ  ปุริสะปุคคะลา, เอสะ  ภะคะวะโตสาวะกะสังโฆล อาหุเนยโย  ปาหุเนยโย  ทักขิเณยโย  อัญชะลีกะระณีโย,อะนุตตะรัง  ปุญญักเขตตัง  โลกัสสะ,  ตะมะหัง  สังฆัง   อะภิปูชะยามิ  ตะมะหัง สังฆัง  สิระสา  นะมามิ ฯ

                                                     (กราบ)

                                                (นั่งพับเพียบ)

(นำ)  หันทะ มะยัง  ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถาโย  เจวะ  สังเวคะ  ปะริกิตตะนะ  ปาฐัญจะ  ภะณามะ เส ฯ

        (ถ้าจะสวดครึ่งเดียว  คือลงแค่  ปะภาวะสิทธิยา  ไม่ต่อ  อิธะตะถาคะโต  ก็นำเพียงครึ่งเดียวว่า  หันทะ  มะยัง  ระตะนัตตะยัปปะณามะ-คาถาโย  ภะณามะ เส ฯ)

(รับ)         พุทโธ  สุสุทโธ  กะรุณามะหัณณะโว

                โยจจันตะสุทธัพพะระญาณะโลจะโน

                โลกัสสะ  ปาปูปะกิเลสะฆาตะโก

                วันทามิ  พุทธัง  อะหะมาทะเรนะ  ตัง

                ธัมโม  ปะทีโป  วิยะ  ตัสสะ  สัตถุโน

                โย  มัคคะปากามะตะเภทะภินนะโก

                โลกุตตะโร  โย จะ ตะทัตถะทีปะโน

                วันทามิ  ธัมมัง  อะหะมาทะเรนะ ตัง

                สังโฆ  สุเขตตายะติเขตตะสัญญิโต

                โย  ทิฏฐะสันโต  สุคะตานุโพธะโก

                โลลัปปะหีโน  อะริโย  สุเมธะโส 

                วันทามิ  สังฆัง  อะหะมาทะเรนะ  ตัง

                อิจเจวะเมกันตะภิปูชะเนยยะกัง

                วัตถุตตะยัง  วันทะยะตาภิสังขะตัง

                ปุญญัง  มะยา  ยัง มะมะ  สัพพุปัททะวา

                มา โหนตุ  เว ตัสสะ  ปะภาวะสัทธิยา ฯ

        (ถ้ามีเวลาพอ ให้สวด  สังเวคะปะริกิตตะนะปาฐะ  ต่อไปนี้)

        อิธะ  ตะถาคะโต  โลเก  อุปปันโน  อะระหัง  สัมมาสัมพุทโธ,

ธัมโม  จะ เทสิโต นิยยานิโก  อุปะสะมิโก ปะรินิพพานิโก

สัมโพธะคามี  สุคะตัปปะเวทิโต, มะยันตัง  ธัมมัง สุตวา เอวัง

ชานามะ,  ชาติปิ ทุกขา  ชะราปิ  ทุกขา, มะระณัมปิ  ทุกขัง,

โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสาปิ  ทุกขา,  อัปปิเยหิ  สัมปะโยโค

ทุกโข  ปิเยหิ  วิปปะโยโค  ทุกโข  ยัมปิจฉัง  นะ ละภะติ ตัมปิ

ทุกขัง, สังขิตเตนะ  ปัญจุปาทานักขันธา  ทุกขา,  เสยยะถีทัง,

รูปูปาทานักขันโธ,   เวทะนูปาทานักขันโธ, สัญญูปาทานักขันโธ,

สังขารูปาทานนักขันโธ,  วิญญาณูปาทานักขันโธ,  เยสัง  ปะริญญายะ,

ธะระมาโน  โส  ภะคะวา,  เอวัง  พะหุลัง  สาวะเก  วิเนติ,  เอวัง

ภาคา  จะ ปะนัสสะ  ภะคะวะโต  สาวะเกสุ  อะนุสาสะนี  พะหุลา

ปะวัตตะติ,  รูปัง  อะนิจจัง,  เวทะนา  อะนิจจา, สัญญา  อะนิจจา,

สังขารา  อะนิจจา, วิญญาณัง  อะนิจจัง,  รูปัง  อะนัตตา,  เวทะนา

อะนัตตา,  สัญญา  อะนัตตา, สังขารา  อะนัตตา, วิญญาณัง  อะนัตตา,

สัพเพ  สังขารา  อะนิจจา, สัพเพ  ธัมมา  อะนัตตาติ,  เต มะยัง

โอติณณามะหะ ชาติยา  ชะรามะระเณนะ, โสเกหิ  ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ

โทมะนัสเสหิ  อุปายาเสหิ,  ทุกโขติณณา  ทุกขะปะเรตา, 

อัปเปวะนามิมัสสะ  เกวะลัสสะ  ทุกขักขันธัสสะ  อันตะกิริยา

ปัญญาเยถาติ,  จิระปะรินิพุตัมปิ  ตัง ภะคะวันตัง  อุททิสสะ

อะระหันตัง  สัมมาสัมพุทธัง,  สัทธา  อะคารัสมา  อะนะคาริยัง

ปัพพะชิตา,  ตัสมิง  ภะคะวะติ  พรัหมะจะริยัง  จะรามะ,

ภิกขูนัง  สิกขาสาชีวะสะมาปันนา, ตัง โน  พรัหมะจะริยัง  อิมัสสะ

้เกวะลัสสะ  ทุกขักขันธัสสะ  อันตะกิริยายะ  สังวัตตะตูติ ฯ

                (สามเณรสวดพึงลดคำว่า  ภิกขูนัง  สิกขาสาชีวะสะมาปันนา

ที่ขีดเส้นใต้ออกเสีย  ถ้าคฤหัสถ์สวด  ตั้งแต่  อิธะ  ตะถาคะโต  จนถึง

ปัญญาเยถาติ แล้วสวดดังนี้  จิระปะรินิพพุตัมปิ  ตัง  ภะคะวันตัง

สะระณัง  คะตา  ธัมมัญจะ  ภิกขุสังฆัญจะ  ตัสสะ  ภะคะวะโต

สาสะนัง  ยะถาสะติ  ยะถาพะลัง  มะนะสิกะโรมะ  อะนุปะฏิปัชชามะ

สา สา โน ปะฏิปัตติ  อิมัสสะ  เกวะลัสสะ  ทุกขักขันธัสสะ

อันตะกิริยายะ  สังวัตตะตุ ฯ อนึ่ง  ถ้าสตรีสวด เต  มะยัง นั้น ให้

แปลงเป็น ตา มะยัง  บทว่า  ปะรินิพพานิโก  มีในฉบับ  สีหฬ  เป็น

ปะรินิพพายิโก  ฉะนี้ทุกแห่ง)

                      

                                      ตังขะณิกะปัจจะเวกขะณะวิธี

(นำ)  หันทะ  มะยัง  ตังขะณิกะปัจจะเวกขะณะ  ปาฐัง  ภะณามะ  เส ฯ

(รับ)  ปะฏิสังขา  โยนิโส  จีวะรัง  ปะฏิเสวามิ,  ยาวะเทวะ  สีตัสสะ

ปะฏิฆาตายะ,  อุณหัสสะ ปะฏิฆาตายะ, ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะ-

สิริงสะปะสัมผัสสานัง ปะฏิฆาตายะ, ยาวะเทวะ  หิริโกปินะปะฏิจฉา-

ทะนัตถัง ฯ

        ปะฏิสังขา  โยนิโส  ปิณฑะปาตัง  ปะฏิเสวามิ,  เนวะ  ทวายะ

นะ  มะทายะ  นะ มัณฑะนาย นะ วิภูสะนายะ,  ยาวะเทวะ  อิมัสสะ

กายัสสะ ฐิติยา ยาปะนายะ วิหิงสุปะระติยา  พรัหมมะจะริยานุคคะหายะ,

อิติ  ปุราณัญจะ เวทะนัง  ปะฏิหังขามิ  นะวัญจะ  เวทะนัง นะ

อุปปาเทสสามิ,  ยาตรา  จะ เม  ภะวัสสะติ  อะนะวัชชะตา  จะ

ผาสุวิหาโร  จาติ ฯ

        ปะฏิสังขา  โยนิโส  เสนาสะนัง  ปะฏิเสวามิ, ยาวะเทวะ สีตัสสะ

ปะฏิฆาตายะ,  อุณหัสสะ  ปะฏิฆาตายะ, ฑังสะมะกะสะวาตาตะปะสิริง-

สะปะสัมผัสสานัง  ปะฏิฆาตายะ, ยาวะเทวะ  อุตุปะริสสะยะวิโนทะนัง

ปะฏิสัลลานารามัตถัง ฯ

        ปะฏิสังขา  โยนิโส  คิลานะปัจจะยะเภสัชชะปะริกขารัง

ปะฏิเสวามิ,  ยาวะเทวะ  อุปปันนานัง  เวยยาพาธิกานัง  เวทะนานัง

ปะฏิฆาตายะ, อัพยาปัชฌะปะระมะตายาติ ฯ

คำแผ่เมตตา
(หันทะ มะยัง เมตตาผะระณัง กะโรมะ เส)

อะหัง สุขิโต โหมิ  ขอให้ข้าพเจ้าจงเป็นผู้ถึงสุข
นิททุกโข โหมิ       
จงเป็นผู้ไร้ทุกข์
อะเวโร โหมิ           
จงเป็นผู้ไม่มีเวร
อัพฺยาปัชโฌ โหมิ    
(อ่านว่า อับ-พะ-ยา)  จงเป็นผู้ไม่เบียดเบียนซึ่งกันและกัน
อะนีโฆ โหมิ                
จงเป็นผู้ไม่มีทุกข์
สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ     
จงรักษาตนอยู่เป็นสุขเถิด
สัพเพ สัตตา สุขิตา โหนตุ      
ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงจงเป็นผู้ถึงความสุข
สัพเพ สัตตา อะเวรา โหนตุ         
ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงจงเป็นผู้ไม่มีเวร
สัพเพ สัตตา อัพฺยาปัชฌา โหนตุ     
ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงจงอย่าได้เบียดเบียนซึ่งกันและกัน
สัพเพ สัตตา อะนีฆา โหนตุ                
ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงจงเป็นผู้ไม่มีทุกข์
สัพเพ สัตตา สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ    
ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงจงรักษาตนอยู่เป็นสุขเถิด
สัพเพ สัตตา สัพพะทุกขา ปะมุญจันตุ       
ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงจงพ้นจากทุกข์ทั้งมวล
สัพเพ สัตตา ลัทธะสัมปัตติโต มา วิคัจฉันตุ    
ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงจงอย่าได้พรากจากสมบัติอันตนได้แล้ว
สัพเพ สัตตา กัมมัสสะกา กัมมะทายาทา  กัมมะโยนิ กัมมะพันธุ กัมมะปะฏิสะระณา
สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงมีกรรมเป็นของของตน, มีกรรมเป็นผู้ให้ผล, มีกรรมเป็นแดนเกิด, มีกรรมเป็นผู้ติดตาม,มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศ้ย
ยัง กัมมัง กะรัสสันติ, กัลฺยาณัง วา ปาปะกัง วา, ตัสสะ ทายาทา ภาวิสสันติ
จักทำกรรมอันใดไว้, เป็นบุญหรือเป็นบาป, จักต้องเป็นผู้ได้รับผลกรรมนั้นๆ สืบไป

ท๎วัตติงสาการปาฐะ
(หันทะ มะยัง ท๎วัตติงสาการะปาฐัง ภะณามะ เส)
เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกล่าวคาถาแสดงอาการ ๓๒ ในร่างกายเถิด

อะยัง โข เม กาโย                  กายของเรานี้แล
อุทธัง ปาทะตะลา                  
เบื้องบนแต่พื้นเท้าขึ้นมา
อะโธ เกสะมัตถะกา                
เบื้องต่ำแต่ปลายผมลงไป
ตะจะปะริยันโต                      
มีหนังหุ้มอยู่เป็นที่สุดรอบ
ปูโรนานัปปะการัสสะ อะสุจิโน  
เต็มไปด้วยของไม่สะอาด มีประการต่างๆ
อัตถิ อิมัสมิง กาเย
                   มีอยู่ในกายนี้
เกสา
                                      คือผมทั้งหลาย
โลมา
                                      คือขนทั้งหลาย
นะขา
                                      คือเล็บทั้งหลาย
ทันตา
                                     คือฟันทั้งหลาย
ตะโจ
                                       หนัง
มังสัง
เนื้อ
นะหารู
                                     เอ็นทั้งหลาย
อัฏฐี
                                         กระดูกทั้งหลาย
อัฏฐิมิญชัง                               เยื่อในกระดูก

วักกัง
                                       ไต
หะทะยัง
                                    หัวใจ
ยะกะนัง
                                    ตับ
กิโลมะกัง
                                  พังผืด
ปิหะกัง                                      ม้าม

ปัปผาสัง
                                    ปอด
อันตัง
                                       ไส้ใหญ่
อันตะคุณัง
                                 สายรัดไส้
อุทะริยัง
                                     อาหารใหม่
กะรีสัง
                                       อาหารเก่า
ปิตตัง
                                        น้ำดี
เสมหัง                                       น้ำเสลด

ปุพโพ
                                        น้ำเหลือง
โลหิตัง                                       น้ำเลือด

เสโท
                                          น้ำเหงื่อ
เมโท
                                          น้ำมันข้น
อัสสุ
                                           น้ำตา
วะสา
                                          น้ำมันเหลว
เขโฬ
                                          น้ำลาย
สิงฆาณิกา
                                  น้ำมูก
ละสิกา
                                        น้ำมันไขข้อ
มุตตัง
                                         น้ำมูตร
มัตถะเกมัตถะลุงคัง
                      เยื่อในสมอง
เอวะมะยังเม กาโย
                      กายของเรานี้อย่างนี้
อุทธังปาทะตะลา
                          เบื้องบนแต่พื้นเท้าขึ้นมา
อะโธเกสะมัตถะกา                       เบื้องต่ำแต่ปลายผมลงไป
ตะจะปะริยันโต                            มีหนังหุ้มอยู่เป็นที่สุดรอบ
ปูโรนานัปปะการัสสะ อะสุจิโน        เต็มไปด้วยของไม่สะอาด มีประการต่างๆ อย่างนี้แลฯ

อภิณหปัจจเวกขณปาฐะ
(หันทะ มะยัง อะภิณหะปัจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส)
เชิญเถิดเราทั้งหลาย มาสวดอภิณหปัจจเวกขณะปาฐะกันเถิด

ชะราธัมโมมหิ ชะรัง อะนะตีโต (อะนะตีตา)  คำในวงเล็บสำหรับผู้หญิงว่า
                     เรามีความแก่เป็นธรรมดาจะล่วงพ้นความแก่ไปไม่ได้
พ๎ยาธิธัมโมมหิ พ๎ยาธิง อะนะตีโต
(อะนะตีตา) คำในวงเล็บสำหรับผู้หญิงว่า
                     เรามีความเจ็บไข้เป็นธรรมดา จะล่วงพ้นความเจ็บไข้ไปไม่ได้
มะระณะธัมโมมหิ มะระณัง อะนะตีโต
(อะนะตีตา) คำในวงเล็บสำหรับผู้หญิงว่า
                     เรามีความตายเป็นธรรมดาจะล่วงพ้นความตายไปไม่ได้
สัพเพหิ เม ปิเยหิ มะนาเปหิ นานาภาโว วินาภาโว
                     เราจะละเว้นเป็นต่างๆ, คือว่าจะต้องพลัดพรากจากของรักของเจริญใจทั้งหลายทั้งปวง
กัมมัสสะโกมหิ กัมมะทายาโท
กัมมะโยนิ
กัมมะพันธุ
กัมมะปะฏิสะระโณ (ณา) คำในวงเล็บสำหรับผู้หญิงว่า

                    เราเป็นผู้มีกรรมเป็นของๆตน, มีกรรมเป็นผู้ให้ผล,มีกรรมเป็นแดนเกิด,มีกรรมเป็นผู้ติดตาม, มีกรรมเป็นที่พึ่ง     อาศัย
ยัง กัมมัง กะริสสามิ, กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา,

ตัสสะ ทายาโท
(ทา) คำในวงเล็บสำหรับผู้หญิงว่า ภะวิสสาม
                   เราทำกรรมอันใดไว้, เป็นบุญหรือเป็นบาป,เราจะเป็นทายาท, คือว่าเราจะต้องได้รับผลของกรรมนั้นๆ สืบไป

เอวัง อัมเหหิ อะภิณหัง ปัจจะเวกขิตัพพัง
                    เราทั้งหลายควรพิจารณาอย่างนี้ทุกวันๆ เถิด

บทพิจารณาสังขาร
(ทุกเวลาทำวัตรเช้าและเวลาเข้านอน)

(หันทะ มะยัง ธัมมะสังเวคะปัจจะเวกขะณะปาฐัง ภะณามะ เส)
เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกล่าวคาถาพิจารณาธรรมสังเวชเถิด

สัพเพ สังขารา อะนิจจา
สังขารคือร่างกายจิตใจ, แลรูปธรรมนามธรรมทั้งหมดทั้งสิ้น,
มันไม่เที่ยง, เกิดขึ้นแล้วดับไปมีแล้วหายไป

สัพเพ สังขารา ทุกขา

สังขารคือร่างกายจิตใจ, แลรูปธรรมนามธรรมทั้งหมดทั้งสิ้น,
มันเป็นทุกข์ทนยาก, เพราะเกิดขึ้นแล้วแก่เจ็บตายไป

สัพเพ ธัมมา อะนัตตา

สิ่งทั้งหลายทั้งปวง, ทั้งที่เป็นสังขารแลมิใช่สังขารทั้งหมดทั้งสิ้น,
ไม่ใช่ตัวไม่ใช่ตน, ไม่ควรถือว่าเราว่าของเราว่าตัวว่าตนของเรา

อะธุวัง ชีวิตัง

ชีวิตเป็นของไม่ยั่งยืน
ธุวัง มะระณัง
ความตายเป็นของยั่งยืน
อะวัสสัง มะยา มะริตัพพัง

อันเราจะพึงตายเป็นแท้
มะระณะปะริโยสานัง เม ชีวิตัง
ชีวิตของเรามีความตายเป็นที่สุดรอบ
ชีวิตัง เม อะนิยะตัง
ชีวิตของเราเป็นของไม่เที่ยง
มะระณัง เม นิยะตัง

ความตายของเราเป็นของเที่ยง
วะตะ
ควรที่จะสังเวช
อะยัง กาโย อะจิรัง

ร่างกายนี้มิได้ตั้งอยู่นาน
อะเปตะวิญญาโณ
ครั้นปราศจากวิญญาณ
ฉุฑโฑ
อันเขาทิ้งเสียแล้ว
อธิเสสสะติ
จักนอนทับ
ปะฐะวิง
ซึ่งแผ่นดิน
กะลิงคะรัง อิวะ
ประดุจดังว่าท่อนไม้และท่อนฟืน
นิรัตถัง
หาประโยชน์มิได้
อะนิจจา วะตะ สังขารา
สังขารทั้งหลายไม่เที่ยงหนอ
อุปปาทะวะยะธัมมิโน
มีความเกิดขึ้นแล้วมีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา
อุปปัชชิตฺวา นิรุชฌันติ
ครั้นเกิดขึ้นแล้วย่อมดับไป
เตสัง วูปะสะโม สุโข
ความเข้าไปสงบระงับสังขารทั้งหลาย, เป็นสุขอย่างยิ่ง, ดังนี้

สัพพปัตติทานคาถา
(หันทะ มะยัง สัพพะปัตติทานะคาถาโย ภะณามะ เส)
เชิญเถิด เราทั้งหลาย จงกล่าวคำแผ่ส่วนบุญให้แก่สรรพสัตว์ทั้งหลายเถิด

ปุญญัสสิทานิ กะตัสสะ ยานัญญานิ กะตานิ เม,
เตสัญจะ ภาคิโน โหนตุ สัตตานันตาปปะมาณะกา
สัตว์ทั้งหลาย ไม่มีที่สุด ไม่มีประมาณ, จงมีส่วนแห่งบุญที่ข้าพเจ้าได้ทำในบัดนี้,
และแห่งบุญอื่นที่ได้ทำไว้ก่อนแล้ว

เย ปิยา คุณะวันตา จะ มัยหัง มาตาปิตาทะโย,
ทิฏฐา เม จาป๎ยะทิฏฐา วา อัญเญ มัชฌัตตะเวริโน

คือจะเป็นสัตว์เหล่าใด, ซึ่งเป็นที่รักใคร่และมีบุญคุณ,
เช่นมารดาบิดาของข้าพเจ้าเป็นต้น ก็ดี ที่ข้าพเจ้าเห็นแล้วหรือไม่ได้เห็นก็ดี,
สัตว์เหล่าอื่นที่เป็นกลางๆหรือเป็นคู่เวรกัน ก็ดี

สัตตา ติฏฐันติ โลกัส๎มิง เตภุมมา จะตุโยนิกา,
ปัญเจกะจะตุโวการา สังสะรันตา ภะวาภะเว

สัตว์ทั้งหลายตั้งอยู่ในโลก, อยู่ในภูมิทั้งสาม, อยู่ในกำเนิดทั้งสี่,
มีขันธ์ห้าขันธ์ มีขันธ์ขันธ์เดียว มีขันธ์สี่ขันธ์, กำลังท่องเที่ยวอยู่ในภพน้อยภพใหญ่ ก็ดี

ญาตัง เย ปัตติทานัมเม อะนุโมทันตุ เต สะยัง,
เย จิมัง นัปปะชานันติ เทวา เตสัง นิเวทะยุง,

สัตว์เหล่าใด รู้ส่วนบุญที่ข้าพเจ้าแผ่ให้แล้ว, สัตว์เหล่านั้นจงอนุโมทนาเองเถิด,
ส่วนสัตว์เหล่าใดยังไม่รู้ส่วนบุญนี้, ขอเทวดาทั้งหลาย, จงบอกสัตว์เหล่านั้นให้รู้

มะยา ทินนานะ ปุญญานัง อะนุโมทะนะเหตุนา,
สัพเพ สัตตา สะทา โหนตุ อะเวรา สุขะชีวิโน,
เขมัปปะทัญจะ ปัปโปนตุ เตสาสา สิชฌะตัง สุภา

เพราะเหตุที่ได้อนุโมทนาส่วนบุญที่ข้าพเจ้าแผ่ให้แล้ว,
สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง, จงเป็นผู้ไม่มีเวร, อยู่เป็นสุขทุกเมื่อ, จงถึงบทอันเกษม,
กล่าวคือพระนิพพาน, ความปรารถนาที่ดีงามของสัตว์เหล่านั้นจงสำเร็จเถิด

ปัตติทานะคาถา(แผ่บุญแก่ผู้อื่น)

(นำ)  หันทะ  มะยัง ปัตติทานะ คาถา  โย ภะณามะ  เส ฯ

(รับ)  ยา  เทวะตา  สันติ  วิหาระวาสินี

         ถูเป  ฆะเร  โพธิฆะเร  ตะหิง  ตะหิง

         ตา ธัมมะทาเนนะ  ภะวันเต  ปูชิตา

         โสตถิง  กะโรนเตธะ  วิหาระมัณฑะเล

          เถรา จะ  มัชฌา  นะวะกา จะ ภิกขะโว

          สารามิกา  ทานะปะตี  อุปาสะกา

          คามา  จะ เทสา  นิคะมา จะ  อิสสะรา

          สัปปาณะภูตา  สุขิตา  ภะวันตุ เต

          ชะลาพุชา  เยปิ  จะ อัณฑะสัมภะวา

          สังเสทะชาตา  อะถะโวปะปาติกา

          นิยยานิกัง  ธัมมะวะรัง  ปะฏิจจะ เต

          สัพเพปิ ทุกขัสสะ  กะโรนตุ สังขะยัง ฯ

ฐาตุ จิรัง  สะตัง  ธัมโม                           ธัมมัทธะรา จะ  ปุคคะลา

สังโฆ  โหตุ  สะมัคโค  วะ                       อัตถายะ  จะ หิตายะ  จะ

อัมเห รักขะตุ สัมธัมโม                           สัพเพปิ  ธัมมะจาริโน

วุฑฒิง  สัมปาปุเณยยามะ                      ธัมเม  อะริยัปปะเวทิเต ฯ

                ปะสันนา  โหนตุ  สัพเพปิ      ปาณิโน  พุทธะสาสะเน

สัมมา  ธารัง  ปะเวจฉันโต                      กาเล  เทโว  ปะวัสสะตุ

วุฑฒิภาวายะ  สัตตานัง                          สะมิทธัง เนตุ เมทะนิง

มาตา  ปิตา  จะ อัตระชัง                         นิจจัง  รักขันติ  ปุตตะกัง

เอวัง  ธัมเมนะ  ราชาโน                           ปะชัง  รักขันตุ  สัพพะทา ฯ

                                       สามเณรสิกขา

                                        บทขัดที่ ๑

        สัมพุทโธ  โลเก  อุปปันโน            มะหาการุณิโก  มุนิ

        ธัมมะจักกัง  ปะวัตเตตวา             โลเก  อัปปะฏิวัตติยัง

        โลกัสสะ  สังคะหัง  กาตุง              จะริตวา โลกะจาริกัง

        ติวิธัง  โลเก  สัทธัมมัง                   สัมมะเทวะ  ปะวัตติยัง

        อะนุปุพเพนะ สาวัตถิง                 ปัตวา เชตะวะเน  วะสัง

        สามะเณรานัง นิสสายะ                  จิตตัง  กะถานุสิกขิตุง

        อะนุญญาสิ  ทะสะ  สิกขา              สามะเณเรหิ  สิกขิตุง

        สามะเณรานัง  ทะสังคัง                 สิกขาปะทัง  ภะณามะเส.

                                           บทสวดที่ ๑

                                        (สิกขาบท ๑๐)

                อะนุญญาสิ โข  ภะคะวา, สามะเณรานัง ทะสะ  สิกขาปะทานิ

เตสุ  จะ สามะเณเรหิ  สิกขิตุง,  ปาณาติปาตา  เวระมะณี,  อะทินนาทานา

เวระมะณี, อะพรัหมะจะริยา  เวระมะณี,  มุสาวาทา  เวระมะณี  สุรา

เมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา  เวระมะณี, วิกาละโภชนะนาเวระมะณี,

นัจจะคีตะวาทิตะวิสูกะทัสสะนา  เวระมะณี,  มาลาคันธะวิเลปะนะธา-

ระณะมัณฑะนะวิภูสะนัฏฐานา  เวระมะณี, อุจจาสะยะนะมะหาสะยะนา

เวระมะณี,  ชาตะรูปะระชะตะปะฏิคคะหะณา  เวระมะณีติ

                                           บทขัดที่ ๒

        เตนะ  โข  ปะนะ  สะมะเยนะ         สักยะปุตโต  ปะนันทะสะ

        สามะเณโร  กัณฏะโก  นามะ          กัณฏะกิง  ภิกขุณิง  ทุสิ

        ญัตวา  ตะมัตถัง  ภะคะวา             ภิกขูนัญเญวะ สันติกา

        อะนุญญาสิ  โข  นาเสตุง                สามะเณรัง ทะสังคิกัง

        สามะเณรานัง นาสะนะ                  การะณังคัง  ภะณามะ เส

                                           บทสวดที่ ๒

                                       (นาสะนังคะ ๑๐)

อะนุญญาสิ  โข  ภะคะวา,  ทะสะหิ อังเคหิ  สะมันนาคะตัง

สามะเณรัง  นาเสตุง,  กะตะเมหิ ทะสะหิ,  ปาณาติปาตี  โหติ,  อะทินนาทา

ยี  โหติ,  อะพรัหมะจารี  โหติ,  มุสาวาที  โหติ,  มัชชะปายี  โหติ,

พุทธัสสะ  อะวัณณัง  ภาสะติ,  ธัมมัสสะ  อะวัณณัง  ภาสะติ,  สังฆัสสะ

อะวัณณัง  ภาสะติ,  มิจฉาทิฏฐิโก  โหติ,  ภิกขุณี ทูสะโก  โหติ,

อะนุญญาสิ  โข  ภะคะวา, อิเมหิ  ทะสะหิ อังเคหิ  สะมันนาคะตัง

สามะเณรัง  นาเสตุนติ.

                                               บทขัดที่ ๓

        เตนะ โข  ปะนะ  สะมะเยนะ             สามะเณรา  อะคาระวา

        ภิกขูสุ  อัปปะติสสา  เจ-                    วะ  อะสะภาคะวุตติกา

        ญัตวา  ตะมัตถัง  ภะคะเว                  ภิกขูนัญเญวะ  สันติกา

        อะนุญญาสิ  ทัณฑะกัมมัง                  กาตุง  ปัญจังคิกัสสะ  จะ

        สามะเณรานัง  ทัณฑะกัมมะ               การะณังคัง  ภะณามะ  เส. 

 

                                    บทสวดที่ ๓

                                 (ทัณฑกรรม ๕)

        อะนุญญาสิ โข  ภะคะวา, ปัญจะหิ  อังเคหิ  สะมันนาคะตัสสะ

สามะเณรัสสะ ทัณฑะกัมมัง  กาตุง,  กะตะเมหิ  ปัญจะหิ, ภิกขูนัง

อะลาภายะ  ปะริสักกะติ,  ภิกขูนัง  อะนัตถายะ  ปะริสักกะติ,  ภิกขูนัง

อะนาวาสะยะ  ปะริสักกะติ,  ภิกขู อักโกสะติ ปะริภาสะติ, ภิกขู  ภิกขูหิ

เภเทติ,  อะนุญญาสิ โข  ภะคะวา,  อิเมหิ  ปัญจะหิ  อังเคหิ  สะมัน-

นาคะตัสสะ  สามะเณรัสสะ  ทัณฑะกัมมัง  กาตุนติ.

จบทำวัตรเช้า

  คาถาพระโมคคัลลาน์ดับไฟนรก    เถโร  โมคคัลลาโน  นะระกัตตัง  โลหะกุมภี

  ทิสวา  อัคคีปัตติ  กัมปะติ คาถานี้ ใช้ดับพิษไฟสารพัด  หายสิ้น  ไม่ร้อน  ไม่พอง

 

สวดมนต์ทำวัตรเช้าประจำวัดพุทธบูชา

0 comments :

แสดงความคิดเห็น

หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น

วัดพุทธบูชา

Picture 012

Picture 008 Picture 006

Picture 010 Picture 013